วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ตอนที่ 2

06. ระบบประสาทของมนุษย์ ระบบประสาท (nervous system) ระบบประสาท คือระบบการตอบสนองต่อสิ่งเร้ารอบตัว ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งตามหน้าที่ออกเป็นระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก ระบบประสาทส่วนกลาง เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของร่างกาย ประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และเซลล์ประสาท สมอง (brain) เป็นศูนย์กลางของระบบประสาททั้งหมด 1. สมองส่วนหน้า 1.1 ซีรีบรัม (Cerebrum) มีขนาดใหญ่สุดรอยหยักมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ ควบคุมการเคลื่อนไหว ความรู้สึก และประสาทสัมผัส 1.2 ทาลามัส (Thalamus) เป็นตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาทในสมอง…

วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ตอนที่ 1

เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 1. ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ (Digestion System) ระบบย่อยอาหาร ประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ดังนี้ 1. ปาก (Month) เริ่มจากภายในปากมีฟัน (Teeth) ที่ทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ซึ่งเป็นการย่อยเชิงกล ในขณะเดียวกันลิ้น (tongue) ที่รับรสอาหาร ก็จะช่วยคลุกเคล้าอาหารกับน้ำลายที่มีเอนไซม์อะไมเลส (amylase) ที่ช่วยย่อยคาร์โบไฮเดรตหรือแป้งให้มีขนาดเล็กลง 2. คอหอย (Pharynx) เป็นทางผ่านของอาหารจากปากลงสู่หลอดอาหาร คอหอยจะมีท่อที่เชื่อมระหว่างหลอดลมและหลอดอาหาร 3.…

บทเรียนที่ 1: คณิตศาสตร์พื้นฐานประถม3 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000

เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 จำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน (จำนวนนับไม่เกิน 100,000) คือ จำนวนตัวเลขที่มีไม่เกิน 5 หลัก นั่นคือ จำนวนตัวเลขที่ไม่เกิน 99,999 หรือจำนวนตัวเลขที่ไม่เกินหลักหมื่น ซึ่งในบทเรียนนี้ได้ยกตัวอย่างจำนวนตัวเลข ดังต่อไปนี้ 1. 23,456  อ่านว่า  สองหมื่นสามพันสี่ร้อยห้าสิบหก    เขียนเป็นเลขไทย  ๒๓,๔๕๖ 2. 78,269    อ่านว่า  เจ็ดหมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบเก้า  เขียนเป็นเลขไทย  ๗๘,๒๖๙…

บทเรียนที่ 6: พืชในท้องถิ่นประถม 1

พืชเป็นสิ่งมีชีวิต สามารถเจริญเติบโต เคลื่อนไหวและตอบสนองต่อสิ่งเร้า หายใจ ขยายพันธุ์ ดูดน้ำและธาตุอาหารได้  พืชมีหลายประเภท เช่น  พืชมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก   พืชขึ้นอยู่บนบก  พืชที่เกาะบนต้นไม้ต่างๆ  และพืชที่ขึ้นอยู่ในน้ำที่มีแสงสว่าส่องถึง ประโยชน์ของพืช มีดังนี้ ให้แก๊สออกซิเจน สำหรับให้คนและสัตว์หายใจ ใช้เป็นอาหาร ใช้เป็นยารักษาโรค ทำเป็นเครื่องนุ่งห่ม สร้างเป็นที่อยู่อาศัย พืชในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกันไป  ดังนั้น จะเห็นได้ว่า พืชเป็นสิ่งที่มีชีวิต มีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ขึ้นอยู่บนบก และ ในน้ำ หรือบนต้นไม้อื่น เราได้ประโยชน์จากพืช…

บทเรียนที่ 2: การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ มัธยมปลาย

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โพรเจกไทล์ (Projectile) คือ วัตถุที่เคลื่อนที่แบบเสรีโดยมีความเร็วในแนวราบ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (Projectile motion) คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุโดยมีแนวการเคลื่อนที่เป็นแนวโค้ง ลักษณะทั่วไปของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์   แนวการเคลื่อนที่เป็นวิถีโค้งพาราโบลา การกระจัด มี 2 แนว เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน และเป็นอิสระต่อกัน ได้แก่ การกระจัดในแนวราบ (Sx) และการกระจัดในแนวดิ่ง(Sy)- การกระจัดในแนวราบ เกิดจากการเคลื่อนที่ภายใต้ความเร็วคงที่ ดังนั้นเมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆ กันจะมีการกระจัดเท่ากันเสมอ การกระจัดในแนวดิ่ง เกิดจากการเคลื่อนที่ภายใต้ความเร่งคงที่ ดังนั้นเมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆ กัน…

บทเรียนที่ 1 การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง ฟิสิกส์ (Physics) มัธยมปลาย

การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ และสองมิติ ตำแหน่งและการกระจัด เมื่อวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ จะมีปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว อัตราเร่ง ความเร่ง ตำแหน่ง(Position) คือการแสดงออก หรือบอกให้ทราบว่า วัตถุหรือสิ่งของที่เราพิจารณาอยู่ที่ใด ระยะทาง(Distance) คือความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร การกระจัด(Displacement) คือเส้นตรงที่ลากจากจุดเริ่มต้น ไปยังจุดสุดท้าย เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็นเมตร ดังนั้น การกระจัดกับระยะทางจะเท่ากัน เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง และไม่มีการย้อนกลับ ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย ที่ความเร็วและอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง…

บทเรียนที่ 1: ที่มาและการศึกษาเกี่ยวกับชีววิทยา

ชีววิทยา (Biology)  ชีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต ซึ่งการศึกษาสิ่งมีชีวิตนี้ เราจะเรียกสิ่งมีชิวิตนี้ว่า ออร์แกนิซึม (Organism) การหาว่าสิ่งไหนมีชีวิตและไม่มีชีวิตนั้น เราสามารถดูวิธี หรือกระบวนการของการดำรงชีวิตได้ 7 ประการดังนี้ 1.…

บทเรียนที่ 4: กระบวนการของชีวิตและเซลล์ เรื่องเซลล์และเนื้อเยื่อ ตอนที่ 2

บทเรียนที่ 4: กระบวนการของชีวิตและเซลล์ เรื่องเซลล์และเนื้อเยื่อ ตอนที่ 2

บทเรียนที่ 3: ความรู้เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) และ ชนิดของกล้องจุลทรรศน์

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์สำหรับมองดูวัตถุที่มีขนาดเล็กเกินกว่ามองเห็นด้วยตาเปล่าเช่น วัตถุที่อยู่ไกล วัตถุที่อยู่สูง เป็นต้น ศาสตร์ที่มุ่งสำรวจวัตถุขนาดเล็กโดยใช้เครื่องมือดังกล่าวนี้ เรียกว่า จุลทรรศนศาสตร์ (Microscopy) ชนิดของกล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Optical Microscopes) และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron Microscopes) ชนิดที่พบได้มากที่สุด คือชนิดที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกว่า กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง เป็นอุปกรณ์ใช้แสงอย่างหนึ่ง มีเลนส์อย่างน้อย…

บทเรียนที่ 2: กระบวนการของชีวิตและเซลล์ เรื่องเซลล์และเนื้อเยื่อ ตอนที่ 1

เซลล์ (Cells) หมายถึง หน่วยชีวิตที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีส่วนประกอบหลักคือ เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึมและนิวเคลียส สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากอย่างแบคทีเรีย จะประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว หรือ แมลงวันหนึ่งตัวมีเซลล์หลายล้านเซลล์ การนำเซลล์หลายชนิดมาประกอบกันขึ้นให้เกิดเป็น เลือด กล้ามเนื้อ สมอง และกระดูกของเราขึ้นมาจะได้เซลล์ แบบต่างๆมากมาย ดังนั้นเซลล์จึงสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ เซลล์สัตว์  เซลล์พืช เซลล์สัตว์  เซลล์สัตว์ ทุกชนิดมีส่วนประกอบ คือ นิวเคลียส (Nucleus)  ไซโตพลาสซึม (cytoplasm) และ…