บทเรียนที่ 2: การแพทย์แผนไทย ศาสตร์การแพทย์ และทฤษฎีธาตุเจ้าเรือน

การแพทย์แผนไทย หรือ การแพทย์แผนโบราณ เป็นการดูแลสุขภาพทั้งสภาวะปกติ และสภาวะที่ผิดปกติ (เป็นโรค) โดยใช้ทฤษฎีความสมดุลของธาตุต่าง ๆ ในร่างกายและกายวิภาคศาสตร์ (anatomy) หลักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์เข้ามาอธิบาย ตามหลักวิชาการหลักเวชปฎิบัติ จากหลักฐานสมัยอยุธยาพบว่า การแพทย์แผนไทยได้รับจากอายุรเวทอินเดียเป็นสำคัญ โดยกล่าวว่าหมอชีวกโกมารภัจจ์ (แพทย์ประจำตัวของพระพุทธเจ้า) เป็นผู้แต่งคัมภีร์แพทย์ ครั้นพระพุทธศาสนาเริ่มเผยแผ่เข้ามาสู่ไทย พระสงฆ์ผู้เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้นำความรู้ในการรักษาโรคเข้ามาใช้กับชาวบ้านด้วย จึงเกิดการผสมผสานกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนไทย องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยล้วนเป็นผลสืบเนื่องจากการสะสมประสบการณ์ในการต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมองว่าจิตใจและอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์มีการทำงานที่สัมพันธ์และเป็นหนึ่งเดียว นอกจากนี้ยังสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงจักรวาล การแก้ปัญหาจึงใช้วิธีแบบองค์รวม (holistic) ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องของการแพทย์อย่างเดียวล้วน ๆ…

บทเรียนที่ 1: ความหมายที่มา สมุนไพร (Herb)

สมุนไพร (Herb) หมายถึง “ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำรับยา เพื่อบำบัดโรค บำรุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ”[1] หากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตำรับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น…

เรื่องน่ารู้การแพทย์แผนไทยประยุกต์

บทเรียนที่ 1: ความหมายที่มา สมุนไพร (Herb) บทเรียนที่ 2: การแพทย์แผนไทย ศาสตร์การแพทย์ และทฤษฎีธาตุเจ้าเรือน

เล่าเรื่องการแพทย์แผนจีน (Chinese Medical)

บทเรียนที่ 1: ความหมายและที่มา การแพทย์แผนจีน (Traditional Chinese Medicine) บทเรียนที่ 2: เรื่องการแพทย์แผนจีนเบื้องต้น บทเรียนที่ 3: การแพทย์แผนจีน เรื่อง สรรพคุณและประโยชน์ของโสม (Ginseng)

บทเรียนที่ 1: กฎหมายสำหรับเภสัชกรรมไทย เรื่อง พ.ร.บ วิชาชีพการแพทย์

1. พ.ร.บ วิชาชีพการแพทย์ พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย พ.ศ.2556 –  พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย พ.ศ.2556 2. พ.ร.บ สถานพยายาล 3. พ.ร.บ ยา พรบ.ยา พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 – พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 4. พรบ. คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542  พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 – พรบ. คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ.…

บทเรียนที่ 3: กฎหมายสำหรับเภสัชกรรมไทย เรื่อง พ.ร.บ ยา

พรบ.ยา พรบ.การประกอบโรคศิลป์ กฎกระทรวง กฎกระทรวงกำหนดวิชาชีพและจำนวนผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล กฎกระทรวงกำหนดชนิดและจำนวนเครื่องมือ เครื่องใช้ ยาและเวชภัณฑ์หรือยานพาหนะที่จำเป กฎกระทรวงการกำหนดลักษณะของสถานพยาบาลและลักษณะการให้บริการของสถานพยาบาล กฎกระทรวงกำหนดชื่อสถานพยาบาลและการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อสถานพยาบาลผู้ประกอบ กฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์เผนไทย… ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ข้อบังคับสภาฯ ว่าด้วยแบบและประเภทใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการฯ(ฉบับที่3) พ.ศ.2560.PDF ข้อบังคับสภาฯว่าด้วยการเป็นสมาชิกสภาฯ(ฉบับที่2)พ.ศ.2559.PDF ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยการประชุมของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะที่ปร ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพักใช้ใบอนุญาตหรื.pdf ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษาและการกำหน ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบความรู้ใ ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยแบบและประเภทใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยการกำหนดโรคซึ่งต้องห้ามมิให้เป็นสมาชิกการแพทย์แ…

บทเรียนที่ 2: กฎหมายสำหรับเภสัชกรรมไทย เรื่อง พ.ร.บ สถานพยาบาล

กฎหมายและข้อบังคับแพทย์แผนไทย  กฎหมายพระราชบัญญัติ พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย พ.ศ.๒๕๕๖  พระราชบัญญัติวิชาชีพแพทย์แผนไทย พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ.๒๕๔๒ พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ พรบ.สถานพยาบาล กฎกกระทรวงว่าด้วยการประกอบกิจการสถานพยาบาล (ฉบับที่ ๒) กฎกระทรวงว่าด้วยการจักมห้มีรายงาน หลักฐานเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพ กฏกระทรวงว่าด้วยการดำเนินการสถานพยาบาล กฏกระทรวงว่าด้วยการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อสถานพยาบาล ผู้ประกอบการวิชาชีพในสถ กฏกระทรวงว่าด้วยชื่อสถานพยาบาล กฏกระทรวงว่าด้วยวิชาชีพและจำนวนผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล กฏกระทรวงว่าด้วยชนิดและจำนวนเครื่องมือ เครื่องใช้ ยาและเวชภัณฑ์ กฏกระทรวงว่าด้วยลักษณะของสถานพยาบาลและลักษณะการให้บริการ กฏกระทรวงว่าด้วยการประกอบกิจการสถานพยาบาล

ยาสามัญประจำบ้านขนาน 28: ยาถ่าย

ยาถ่าย วัตถุส่วนประกอบ ใบมะกา ใบมะขาม ใบส้มป่อย หญ้าไทร ใบไผ่ป่า ฝักคูณ รากขี้กาแดง รากขี้กาขาว รากตองแตก เถาวัลย์เปรียง หัวหอม ฝักส้มป่อย สมอไทย สมอดีงู หนักสิ่งละ 1 ส่วน ขี้เหล็กทั้ง 5 หนัก 1 ส่วน ยาดำ หนัก 4 ส่วน ดีเกลือฝรั่ง หนัก…

ยาสามัญประจำบ้านขนาน 27: ยาเนาวหอย

ยาเนาวหอย วัตถุส่วนประกอบ กระดูกเสือเผา กระดูกโคเผา กระดูกแพะเผา กระดูกงูเหลือมเผาหนัก สิ่งละ 1 ส่วน เปลือกหอยขมเผา เปลือกหอยแครงเผา เปลือกหอยตาวัวเผา เปลือกหอยพิมพการังเผา เปลือกหอยนางรมเผา เปลือกหอยกาบเผา เปลือกหอยจุ๊บแจงเผา เปลือกหอยมุกเผา เปลือกหอยสังข์เผา หนักสิ่งละ 2 ส่วน รากทนดี (ตองแตก) หนัก 3 ส่วน รากเจตมูลเพลิงแดง หัสคุณเทศ หนักสิ่งละ 4…

ยาสามัญประจำบ้านขนาน 26: ยามหาจักรใหญ่

ยามหาจักรใหญ่ วัตถุส่วนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐก้านพร้าว โกฐกระดูก เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี สมอไทย (เอาแต่เนื้อ) สมอพิเภก (เอาแต่เนื้อ) มะขามป้อม (เอาแต่เนื้อ) ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู ชะเอมเทศ เมล็ดโหระพา ลูกผักชีลา สารส้ม ดินประสิว ขมิ้นอ้อย หัวกระเทียม หนักสิ่งละ…