อะไรคือ รสวรรณคดีไทย ในหลักภาษาไทย

รสวรรณคดีไทย มี 4ประเภท ดังนี้ เสาวรจนี นารีปราโมทย์ พิโรธวาทัง สัลลาปังคพิสัย 1. เสาวรจนี (บทชมโฉม)  มาจากคำว่า  เสาว ว. ดี, งาม + รจนี ก. ตกแต่ง, ประพันธ์ ว. งาม คือการเล่าชมความงามของตัวละครในเรื่อง อาจเป็นตัวละครที่เป็นมนุษย์ อมนุษย์ หรือสัตว์ ซึ่งการชมนี้อาจจะเป็นการชมความเก่งกล้าของกษัตริย์ ความงามของปราสาทราชวังหรือความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่น…

โวหารภาพพจน์ คืออะไร มีหน้าที่ทำอะไร ในหลักภาษาไทย

โวหารภาพพจน์ โวหารคือ  การใช้ถ้อยคำอย่างมีชั้นเชิง  เป็นการแสดงข้อความออกมาในทำนองต่างๆ  เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดี  มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง  ในการเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่างๆ  กัน  แล้วแต่ชนิดของ                                         …

คำพ้องรูป-พ้องเสียง ในหลักภาษาไทย

คําพ้อง หมายถึง คําที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกัน แต่จะมีความหมายต่างกัน ซึ่งเวลาอ่าน ต้องอาศัยการสังเกตเนื้อความของคําที่เกี่ยวข้องคําพ้องมีหลายลักษณะ คำพ้องเเบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. คําพ้องรูป คือ คําที่เขียนเหมือนกันแต่ออกเสียงต่างกัน ในการอ่านจึงต้องระมัดระวัง โดยดูจากบริบทของคําแวดล้อม เพื่อให้ถูกต้องและสื่อความหมายได้ตรงกับเจตนารมณ์ของสาร เช่น กรี       อ่านว่า กรี (อ่านแบบควบกล้ํา)          แปลว่า อวัยวะส่วนหัวของกุ้ง…

บทเรียนที่ 2: การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ มัธยมปลาย

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โพรเจกไทล์ (Projectile) คือ วัตถุที่เคลื่อนที่แบบเสรีโดยมีความเร็วในแนวราบ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (Projectile motion) คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุโดยมีแนวการเคลื่อนที่เป็นแนวโค้ง ลักษณะทั่วไปของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์   แนวการเคลื่อนที่เป็นวิถีโค้งพาราโบลา การกระจัด มี 2 แนว เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน และเป็นอิสระต่อกัน ได้แก่ การกระจัดในแนวราบ (Sx) และการกระจัดในแนวดิ่ง(Sy)- การกระจัดในแนวราบ เกิดจากการเคลื่อนที่ภายใต้ความเร็วคงที่ ดังนั้นเมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆ กันจะมีการกระจัดเท่ากันเสมอ การกระจัดในแนวดิ่ง เกิดจากการเคลื่อนที่ภายใต้ความเร่งคงที่ ดังนั้นเมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆ กัน…

บทเรียนที่ 1 การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง ฟิสิกส์ (Physics) มัธยมปลาย

การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ และสองมิติ ตำแหน่งและการกระจัด เมื่อวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ จะมีปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว อัตราเร่ง ความเร่ง ตำแหน่ง(Position) คือการแสดงออก หรือบอกให้ทราบว่า วัตถุหรือสิ่งของที่เราพิจารณาอยู่ที่ใด ระยะทาง(Distance) คือความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร การกระจัด(Displacement) คือเส้นตรงที่ลากจากจุดเริ่มต้น ไปยังจุดสุดท้าย เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็นเมตร ดังนั้น การกระจัดกับระยะทางจะเท่ากัน เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง และไม่มีการย้อนกลับ ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย ที่ความเร็วและอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง…

ชีววิทยา มัธยมปลาย (ม.4,ม.5,ม.6)

บทเรียนที่ 1: ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต บทเรียนที่ 2: การศึกษาชีววิทยา บทเรียนที่ 3: เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต บทเรียนที่ 4: เซลล์ของสิ่งมีชีวิต บทเรียนที่ 5: ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน บทเรียนที่ 6: การรักษาดุลยภาพในร่างกาย บทเรียนที่ 7: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต บทเรียนที่ 8: การรับรู้และการตอบสนอง บทเรียนที่ 9: ระบบต่อมไร้ท่อ บทเรียนที่ 10: พฤติกรรมของสัตว์…

เคมี (Chemistry) มัธยมปลาย (ม.4,ม.5,ม.6)

บทเรียนที่ 1: อะตอมและตารางธาตุ บทเรียนที่ 2: พันธะเคมี บทเรียนที่ 3: สมบัติของธาตุและสารประกอบ บทเรียนที่ 4: ปริมาณสารสัมพันธ์ บทเรียนที่ 5: ของแข็งของเหลวก๊าซ บทเรียนที่ 6: อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี บทเรียนที่ 7: สมดุลเคมี บทเรียนที่ 8: กรดเบส บทเรียนที่ 9: ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี บทเรียนที่ 10: ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม…

ฟิสิกส์ (Physics) มัธยมปลาย (ม.4,ม.5,ม.6)

บทเรียนที่ 1: การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง มัธยมปลาย บทเรียนที่ 2: การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ มัธยมปลาย บทเรียนที่ 3: การเคลื่อนที่แบบคาบ มัธยมปลาย บทเรียนที่ 4: แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มัธยมปลาย บทเรียนที่ 5: พลังงานและกฎการอนุรักษ์พลังงาน มัธยมปลาย บทเรียนที่ 6: โมเมนตัมและการชน มัธยมปลาย บทเรียนที่ 7: การเคลื่อนที่แบบต่างๆ มัธยมปลาย…

บทเรียนที่ 4: จำนวนจริง มัธยมปลาย

จำนวนจริง เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่ เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I   ——- I = {1,2,3…}  เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I  ——-    I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…} เซตของจำนวนตรรกยะ : เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน      โดยที่ a,b…

บทเรียนที่ 2: แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ มัธยมปลาย (Venn – Euler Diagram)

แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แผนภาพออยเลอร์ (Eulerdiagram) เป็นแผนภาพที่ใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ของเซตต่างๆโดยให้วงกลมแต่ละวงแทนแต่ละเซตและแสดงความสัมพันธ์ของแต่ละเซตด้วยการครอบซึ่งแสดงความเป็นสับเซตการทับซ้อนกันหรือการไม่ทับซ้อนกันซึ่งแสดงว่าทั้งสองเซตไม่มีความสัมพันธ์กัน ลักษณะแผนภาพวงกลมเช่นนี้เชื่อว่าถูกใช้ครั้งแรกโดยนักคณิตศาสตร์ชาวสวิสนามว่าเลออนฮาร์ดออยเลอร์แผนภาพออยเลอร์นั้นมียังลักษณะคล้าย คลึงกันกับแผนภาพเวนน์มากในทฤษฎีเซตซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของคณิตศาสตร์จึงนิยมใช้แผนภาพประยุกต์จากแผนภาพทั้งสองในการอธิบายเซตต่าง ๆ ให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์เป็นแผนภาพแสดงความเกี่ยวข้องของเซตต่าง ๆ ซึ่งชื่อที่ใช้เรียกเป็นชื่อของนักคณิตศาสตร์สองคน คือ จอห์น เวนน์ และ เลโอนาร์ด ออยเลอร์ การเขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การเขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์มักเขียนแทนเอกภพสัมพัทธ์U ด้วยสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือรูปปิดใดๆ ส่วนเซต A,B,C,D,… ซึ่งเป็นเซตย่อยของ Uอาจเขียนแทนด้วยวงกลมหรือวงรีหรือรูปปิดใดๆโดยให้ภาพที่แทนเซตย่อยอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่แทนเอกภพสัมพัทธ์ การพิจารณาเกี่ยวกับเซตจะง่ายขึ้น ถ้าเราใช้แผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์ เข้ามาช่วย หลักการเขียนแผนภาพมีดังนี้ ใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนเอกภพสัมพัทธ์ ช้วงกลมหรือวงรีหรือรูปปิดใด…